เกี่ยวกับ UNDV
การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ผู้บริหาร สสวล.
International Council of the United Nations Day of Vesak
ผู้บริหาร สมพน.
International Association of Buddhist Universities
สำนักงาน
สำนักงาน สสวล. / สมพน.
โครงการ
คำประกาศปฎิญญากรุงเทพมหานคร
ความหมายของตราสัญญลักษณ์
เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลอง พุทธชยันตี : ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ขององค์พระพุทธเจ้า

องค์ปาฐกถาพิเศษ
พระภาวนาวิเทศ (หลวงพ่อเขมธัมโม)
วัดป่าสันติธรรม เมืองวอริค
มณฑลวอริคเชียร์ ประเทศอังกฤษ


Guest Speaker
Ven Sheng Kai
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
Symposium Speakers
Rev.Noriaki Kunitomo
ศาสตราจารย์วันชัย วัฒนศัพท์
Prof. Kamaleswar Bhattacharya
Dr. Phil Tan
Prof. Dr. Donald K Swearer
ดร. ตัม ดึ๊ก
  ดร.จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์
Prof. Dr. Keown
พระหยวน ฉี
ศาสตราจารย์ ดร. พระคำหมาย ธัมมสามิ
ศาสตราจารย์สุมานะปาละ กัลมานโกฏะ
Dr Sarah Shaw

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
แผนผัง มจร
แผนผัง ห้องประชุมและสถานที่จัดงานใน มจร
องค์การสหประชาชาติ (UN)
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(วัดพระแก้ว)
พุทธมณฑล
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
อยุธยา เมืองมรดกโลก
การบินไทย
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
Maps of Venues

ข่าวสารถึงอาสาสมัคร
ตำแหน่งที่ต้องการ
ร่วมสมัครเป็นอาสาสมัคร
คำถาม คำตอบ
นโยบายของอาสาสมัคร

สัญญาณถ่ายทอดสด
Press Released
วิดิทัศน์
รูปภาพ
ข้อมูลรูปภาพ
หนังสือ
เพลง
นิทรรศการ
Cultural Show

ข้อมูลคณะทำงาน
Story of each Vesak Celebrations
การเสวนาทางวิชาการ / วิทยากร
History of UN Day of Vesak Celebrations
กำหนดการ
INTERNATIONAL COUNCIL OF UNITED DAYS OF VESAK Executive Council Meeting of ICUNDV
บทความวิชาการ
The International Association of Buddhist
สถานที่จัดกิจกรรม
Officers and Location
ข่าวสาร
The 84th Birthday Anniversary of His Majestythe King & International Celebration on the Occasion of United Nations Day


สัมมนาเชิงปฏิบัติการ พระไตรปิฎกสากล
The Buddha's Enlightenment for the Well-Being of Humanity

Click to Share this Article
Summary Page

พุทธิปัญญาและการปรองดอง
Buddhist Wisdom and Reconciliation

พุทธิปัญญาและสิ่งแวดล้อม
Buddhist Wisdom and Enviroment

พุทธิปัญญาและการปรับเปลี่ยนชีวิตมนุษย์
Buddhist Wisdom and Human Transformation

สัมมนาเชิงปฏิบัติการ พระไตรปิฎกสากล




สัมมนาเชิงปฏิบัติการ พระไตรปิฎกสากล
Place: Meeting Room 3, MCU Conference Hall
Date: 1 June 2012
Time: 9.00-11.30 and 13.00-16.00 hrs
 

   ประวัติ และพัฒนาการของพระไตรปิฏกฉบับสากล


โครงการนี้มีรากฐานมาจากข้อ ๕ ของบันทึกลงนามความร่วมมือของการประชุมวันวิสาขบูชาสากลโลก พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรวบรวมและจัดพิมพ์งานพระพุทธศาสนาเพื่อแจกจ่าย อย่างเป็นอิสระไปตามโรงแรมต่างๆ ทั่วโลกในฐานะส่วนหนึ่งในความพยายามเผยแพร่พระพุทธศาสนา และ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการนี้ เพื่อจัดตั้งอนุกรรมการเพิ่มจากกรรมการองค์การร่วมนานาชาติที่จะดำเนินงานนี้ต่อไป

ยิ่งไปกว่านั้น โครงการยังมีรากฐานในตัวมันเองในข้อ ๕ ของปฏิญญากรุงเทพมหานครครั้งที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙): เพื่อส่งเสริมความเข้าใจที่ดีขึ้นในหลักการต่างๆ ทางพุทธท่ามกลางสาธารณชนที่กว้างขวางขึ้นโดยการรวบรวมตำราพระไตรปิฎก ซึ่งจะสะท้อนแก่นหัวที่เป็นสาระสำคัญหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท มหายาน และวัชรยาน เช่นเดียวกับความต้องการอันหลากหลายในสังคมปัจจุบัน

   จุดมุ่งหมายของโครงการพระไตรปิฎกฉบับสากล


โครงการพระไตรปิฎกฉบับสากลนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะผลิตตำราขนาดที่เหมาะสม (ประมาณ ๕๐๐ หน้า) ด้วยวัตถุที่คัดเลือกจากคัมภีร์ต่างของประเพณีทาง เถรวาท มหายาน และวัชรยาน ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อผู้อ่านอย่างกว้างขวาง

พระไตรปิฎกฉบับสากลจะได้รับการอนุมัติในท้ายสุดโดยคณะนักวิชาการและคณะสงฆ์ผู้นำชาวพุทธ และจะมีการจัดพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษ จากนั้นจะมีการจัดพิมพ์เป็นภาษาต่างๆ ที่เป็นทางการสหประชาชาติเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ ในพุทธประเทศต่างๆ ตามด้วยภาษาของประเทศอื่นๆ

พระไตรปิฎกฉบับสากลมีจุดมุ่งหมายที่จะขยายความสามารถในการสอนพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวพันกับเรื่องรากฐานหลักๆ ที่กำลังเกิดกับมนุษยชาติไปอย่างกว้างขวาง และด้วยวิธีนี้ จะเป็นการเพิ่มความตระหนักของพุทธศาสนิกชนทั้งหลายในมรดกอันมั่งคั่งทางศาสนา และทางการคิดแง่จริยธรรมของพวกเขาเอง เช่นเดียวกับที่จะเป็นการเพิ่มความเข้าใจในเรื่องคุณค่าพื้นฐาน และหลักการต่างๆ ทางพระพุทธศาสนาในหมู่ชนที่มิใช่ชาวพุทธอีกด้วย

พระไตรปิฎกฉบับสากลจะมุ่งให้เกิดดุลยภาพระหว่างสิ่งสามัญต่อประเพณีต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา และความหลากหลายทางทัศนคติต่างๆ ระหว่างประเพณีเหล่านั้น

   การบริหารจัดการโครงการพระไตรปิฎกฉบับสากล


คณะกรรมการรวบรวมตำราพระไตรปิฎก ซึ่งมาจากนักวิชาการชาวพุทธผู้มีชื่อเสียงได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อรวบรวมตำราพระไตรปิฎกฉบับสากล จากหัวใจสำคัญของพระพุทธเถรวาท มหายาน และวัชรยาน โดยการประสานงานกับคณะกรรมการจัดตั้งโครงการฯ และทำหน้าที่เลขาธิการมีสำนักงานประจำ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พร้อมด้วยศาสตราจารย์ ดร. พระธรรมโกศาจารย์ อธิการบดี ในฐานะหัวหน้าบรรณาธิการตำราพระไตรปิฎกสากลและประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการฯ จัดหาแหล่งต่างๆ ที่โครงการฯ ต้องการ พร้อมไปกับการชี้แนะและเป็นผู้นำโครงการพระไตรปิฎกสากล

   ประวัติของโครงการพระไตรปิฎกฉบับสากล


โครงการพระไตรปิฎกฉบับสากลมีการริเริ่มดำเนินการในระหว่างการประชุมสัมมนาวันวิสาขบูชาสากลโลก ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และมีการประชุมต่อเนื่องในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และมีการประชุมเชิงปฏิบัติการในการประชุมสัมมนาวันวิสาขบูชาสากลโลก พ.ศ. ๒๕๕๓ และมีการประชุมในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔