Click to Share this Article
|
|
|
สดจากงาน เฉลิมฉลอง "พุทธชยันตี : ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ขององค์พระพุทธเจ้า" |
|
|
For the events of Buddhajayanti:
The Celebration of 2600 Years of Buddha's Enlightenment. |
|
|
ภาพวิดิทัศน์เหตุการณ์สำคัญ |
|
|
|
Hi-Resolution Photo |
|
|
จากงาน เฉลิมฉลอง "พุทธชยันตี : ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ขององค์พระพุทธเจ้า" |
|
|
|
|
From 13 countries to celebrate
The Celebration of 2,600 Years of
Buddha's Enlightenment. |
|
|
|
Gala Buddhist Cultural Performance / Finale at Conference Hall, MCU, Wang Noi, Ayutthaya
|
|
Buddhist Cultural Performance / Finale
at The National Theatre, Bangkok
|
|
Buddhist Cultural Performance / Finale
at Buddhamonthon, Nakornpathom
|
|
*โดยการแสดงทั้ง 4 รอบ เปิดให้ประชาชนผู้สนใจ เข้าชมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด *
สำหรับการแสดงที่โรงละครแห่งชาติ ในวันศุกร์ ที่ 1 มิถุนายน 2555
สามารถรับบัตรเข้าชมการแสดง
ณ โรงละครแห่งชาติ
ก่อนการแสดง 2 ชั่วโมง |
|
|
|
ประเทศบังคลาเทศ |
|
ประเทศภูฏาน |
|
ประเทศกัมพูชา |
|
สาธารณรัฐประชาชนจีน |
|
ประเทศอินเดีย |
|
ประเทศอินโดนีเซีย |
|
ประเทศญี่ปุ่น |
|
สาธารณรัฐเกาหลี |
|
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
|
ประเทศสหภาพเมียนมาร์ |
|
ประเทศศรีลังกา |
|
ประเทศเวียดนาม |
|
ประเทศไทย โดยคณะนักแสดงจากสำนักการสังคีต กรมศิลปากร |
|
|
|
|
|
|
|
|
ประเทศภูฏาน
การแสดงจากภูฏาน นำโดยคณะนักแสดงจาก The Royal Academy of Performing arts (RAPA) ซึ่งก่อตั้งโดย สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จิ วังชุก ในปี ค.ศ. 1954 เพื่อเป็นการรักษาศิลปะการเต้นรำหน้ากากภูฏาน การเต้นรำพื้นเมือง และดนตรีพื้นเมือง The Royal Academy of Performing arts เป็นสถาบันหลักภายใต้การดูแลของกระทรวงมาตุภูมิและวัฒนธรรมภูฏาน ดูแลในด้านวัฒนธรรม ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักของการสร้างความสุขมวลรวมภายในประเทศภูฏาน
ชุดการแสดง การระบำหน้ากาก
|
|
|
|
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายละเอียดชุดการแสดง
การแสดงของจีน จะแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ในส่วนแรก จะเป็นการแสดงศิลปะการต่อสู้ของชาวจีน ( คล้ายกับเส้าหลินและกังฟู ) ต่อมาในส่วนที่สอง เป็นการแสดงละครหน้ากากของมณฑลเสฉวน ซึ่งเป็นที่นิยมอย่างยิ่งในจีน ส่วนที่สาม เป็นการขับร้องเพลงของพุทธศาสนาและในส่วนสุดท้าย เป็นพิธีชงชาของชาวจีนที่นับถือพุทธศาสนา
|
|
|
|
ประเทศอินเดีย
Natya Ballet Centre ตั้งอยู่ที่กรุงนิวเดลี เป็นสถาบันการสอนเต้นที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆของประเทศอินเดีย ซึ่งทำหน้าที่ในการเผยแพร่และส่งเสริมการเต้นของชาวอินเดีย โดยคณะผู้แสดงประกอบด้วย นักเต้นที่มีประสบการณ์ทั้งในอินเดียและต่างประเทศ
ชุดการแสดง Nirvana The Enlightened
รายละเอียดชุดการแสดง
หัวข้อในการแสดงครั้งนี้ คือ Nirvana The Enligntened หรือ การบรรลุนิพพาน คือ การเต้นบัลเล่ย์ในรูปแบบของ ODSISSI ซึ่งจะบรรยายถึงช่วงระยะเวลาต่างๆของพระพุทธเจ้าในการเดินทางเพื่อแสวงหาความจริงในการตรัสรู้ และเมื่อพระพุทธเจ้าได้ประทับลงบนดอกบัว ซึ่งอยู่ใต้ต้นโพธิ์ในพุทธคยา (Bodhgaya) และทรงให้คำปฏิญาณว่าจะไม่ประทับขึ้นจากดอกบัวจนกว่าจะพบความจริง หลังจากนั้นเพียง 49 วัน พระพุทธเจ้าทรงบรรลุนิพพาน
|
|
|
|
ประเทศญี่ปุ่น
Shomyo is chanting of melodized Buddhist sutras on the occasion of Buddhist ceremonies. It is thought to be the origin of all Japanese music.
Shomyo was born in India, the birthplace of Buddhism. It was passed on to China and then to Japan with Buddhism, and there it took a hold. The place recognized as the cradle of Shomyo in Japan is Ohara in Kyoto, where the famous Sanzen-in Temple is. It is recorded that Shomyo was performed in the consecration ceremony of Daibutsu, the giant statue of Buddha, of Todai-ji Temple in 754 in the Nara era, and judging from it, Shomyo had already prevailed in the Nara era.
Early in the Heian era (794 1185), Saicho and Kukai brought Shomyo from China to Japan respectively and laid the foundation of Tendai Shomyo and Shingon Shomyo. Buddhist denominations other than Tendai and Shingon have their own Shomyo and they still carry it on.
Tendai Shomyo founded by Saicho has been developed uniquely. In 1109, Rev. Ryonin founded Raigo-in Temple in Ohara, Kyoto and gave it the title "Gyozan (Fish Mountain)" after Gyozan in China where Shomyo in China started. Shomyos of Yuzu-nenbutsu-shu denomination, Jodo-shu denomination, and Jodo-shin-shu
denomination are of lineage of Tendai Shomyo. Ohara Gyozan Shomyo Kenkyu-kai hosted by Late Rev. AMANO Denchu (1025 - 2002), who was the chief priest of Gyozan Jikko-in and made efforts to restore and carry on the orthodox Gyozan Shomyo, introduced Tendai Shomyo to the world for the first time in Czeckoslovakia in 1998 in collaborative performance with Schola Gregoriana Pragensis.
|
|
|
|
ประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี
ชุดการแสดง Yeongsan
รายละเอียดการแสดง
Yeongsan คือคำเรียกแบบสั้นๆ ที่ย่อมาจากคำว่า Yeongsanhoesang และ jae ในคำว่า Yeongsanjae เป็นภาษาสันสกฤตที่หมายถึงพิธีการบูชา ของเหล่าพระสงฆ์ ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าได้เสด็จไป แสดงพระธรรมเทศนาที่ภูเขา Yeongchwi เหล่าบรรดาเทพเจ้าและมนุษย์ทั้งหลายต่างออกมาแสดงความปิติยินดี ที่ได้รับฟังพระธรรมเทศนาจากพระผู้เป็นเจ้า ดอกMandara ได้ลอยลงมาจากสวรรค์ พระโพธิสัตว์และบรรดาเทพเจ้า ทั้งหลายได้ลงมายังโลกเพื่อมอบดอกไม้และธูปพร้อมกับเต้นรำ และเล่น ดนตรีถวายให้แก่พระพุทธเจ้าทั้งหมดนี้อยู่ในพิธีที่เรียกว่าYeongsanjae ซึ่งต่อมา ได้กลายเป็นต้นแบบ ของพิธี Yeongsanjae
จุดประสงค์ของพิธีนี้คือการสอนให้รู้จักการหลุดพ้นการเวียนว่ายตายเกิด การระลึกถึงธรรมะของ พระพุทธเจ้าและสอนให้เชื่อว่าพิธีYeongsanjaeยังคงอยู่ในสมัยของพระพุทธเจ้า ซึ่งทั้งหมดนี้ที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้พบกับพระพุทธเจ้า และหลุดพ้นจากกรรม
|
|
|
|
ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
|
|
|
|
ประเทศสหภาพเมียนมาร์
The performance - The offering of Ghana milk-rice by Sujata ชุดการแสดง นางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส
รายละเอียดชุดการแสดง
นางสุชาดา ธิดาของคหบดี ผู้หนึ่งในหมู่บ้าน ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ถวายข้าวมธุปายาส ( ข้าวที่หุงด้วยนมโคล้วน เป็นอาหารจำพวกมังสวิรัติ ไม่ปนเนื้อ ไม่เจือปลา ใช้สำหรับบวงสรวงเทพเจ้าโดยเฉพาะ) พร้อม นางปุณณทาสี คนรับใช้
หลังจากที่พระบรมโพธิสัตว์ทรงรับข้าวมธุปายาสแล้วทรงเสด็จลุกจากอาสนะ ทรงถือถาดเสด็จไปยังริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา เมื่อสรงพระวรกายแล้วประทับนั่งบ่ายพระพักตร์สู่ทิศบูรพา ทรงปั้นข้าวมธุปายาสได้ ๔๙ ปั้น แล้วเสวยจนหมด จากนั้นทรงถือถาดทองเสด็จไปสู่แม่น้ำเนรัญชรา ทรงอธิษฐานเสี่ยงพระบารมีว่า "ถ้าจะได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ขอให้ถาดนี้จงลอยทวนกระแสน้ำขึ้นไป" ด้วยอานุภาพแห่งพระบารมี ถาดทองนั้นลอยทวนกระแสน้ำขึ้นไป และในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน6 พระโพธิสัตว์ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
|
|
|
|
ประเทศ เวียดนาม
ชุดการแสดง - Vietnamese Traditional Music and Dance for 2600th Anniversary Vesak
รายละเอียดชุดการแสดง
เนื่องในการเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชาประจำปี 2012 มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งเวียดนาม ได้วางแผนจัดการแสดงทางดนตรีขึ้น ซึ่งจะแสดงโดยคณะผู้แทนการแสดงศิลปะราชวงศ์ แห่ง HUE VIETNAM โดยจัดการแสดงในหัวข้อ " Vietnamese Traditional Music and Dance for 2,600 Anniversary Vesak "
ประเพณีทางศาสนาในเวียดนามเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 1,000 ปีที่แล้ว พุทธศาสนามีอิทธิพลอย่างมากต่อวัฒนธรรมเวียดนาม ดนตรีในราชสำนัก มีแหล่งกำเนิดมาจากบทสวดทางพุทธศาสนา
การแสดงดนตรีและบทเพลง จะอยู่ในรูปแบบของเพลงประจำชาติ หรือประเพณี ซึ่งการแสดงจะอยู่ในราชสำนักเท่านั้น ในอดีตเพลงในราชสำนักถูกนำมาใช้เป็นศิลปะของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์
การแสดงดนตรีและบทเพลงได้รับการยกย่องโดย UNESCO ให้เป็นศิลปะมุขปาฐะและจับต้องไม่ได้
ระบำโคมไฟ เกิดขึ้นโดยประเพณีทางดนตรีและการเต้นรำของชาวเวียดนาม เพื่อใช้ในการเฉลิมฉลองการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ประเพณีการเต้นได้กล่าวถึง สิ่งของบูชา 6 สิ่ง ได้แก่ ธุป, เทียน ,ดอกไม้ ,ชา ผลไม้และดนตรี พิธีทางวิญญาณได้ถูกพัฒนาขึ้นโดย ราชวงศ์ HUE เพื่อให้ระบำโคมไฟเป็นการแสดงในราชสำนัก
การแสดงนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. 3 วงล้อและ 9 การเปลี่ยนแปลง : ดนตรี คือ เสียงที่ใช้ในการอัญเชิญเทพเจ้าให้มาอยู่ในสถานที่เดียวกัน เพื่อเฉลิมฉลองและเป็นสักขีพยานในพิธี
2 . ดนตรีแห่งการประสูติของพระพุทธเจ้า : ดนตรีในการเฉลิมฉลองในการประสูติของพระพุทธเจ้า
3 . ระบำโคมไฟ : พิธีการถวายของบูชา 6 สิ่ง พุทธศาสนิกชนได้ถวายของ 6 สิ่งของโลก (ธูป, เทียน ,ดอกไม้ชา ผลไม้และดนตรี) เพื่อใช้ในการเฉลิมฉลองการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
|
|