เกี่ยวกับ UNDV
การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
คณะกรรมการวิสาขบูชา นานาชาติ
International Council of the United Nations Day of Vesak
ผู้บริหาร สมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ
International Association of Buddhist Universities
สำนักงาน
สำนักงาน สสวล. / สมพน.
โครงการ
หลักการและเหตุผล
คำประกาศปฎิญญากรุงเทพมหานคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
 

ปาฐกถา เรื่อง :
การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก: มุมมองพระพุทธศาสนา
องค์ปาฐกถาพิเศษ
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ


ผู้ร่วมเสวนา
Venerable Professor Mahinda Deegalle
Most Ven. Bhikkuni SHI RURUI
Jack Miller
Jamie Cresswell

Moderators
Venerable Assoc. Prof. Phra Sigambhirayan, Ph.D.
Venerable Phra Khammai Dhammasami
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง :
พระสงฆ์กับการส่งเสริมการศึกษาและคุณค่าความเป็นมนุษย์
ผู้ร่วมเสวนา
Venerable Ashin Nyanissara
Venerable Seck Kwang Phing
Venerable Phramaha Anilaman Dhammasakiyo, Ph.D
SUAH KIM (Bhikkhuni Soun )
Prof. Chandima Wijebandara

Moderators
Venerable Dr. Tampalawela Dhammaratana
Phra Rajavaramuni
 

สาส์นจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม


สารจาก อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ ประธานสมาคมสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.๙,Ph.D)
ศาสตราจารย์,ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์,เจ้าคณะภาค ๒
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


สารจากเลขาธิการสหประชาชาติ
บัน คิ-มูน


สารจากผู้อำนวยการทั่วไป องค์การร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ (ยูเนสโก้)
มิส ไอรีน่า โบโคว่า


สารจากประธานองคมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
สารจากนายกรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร


สารจากนายกรัฐมนตรีออสเตรีย
จูเลีย ไอลีน กิลลาร์ด


สารจากนายกรัฐมนตรีบังคลาเทศ
ชีค ฮาสินา


สารจากมหาเถรสมาคม


สารจากคณะรัฐมนตรี


สารจากสถานทูตและสถานกงสุลต่างประเทศในประเทศไทย


สารจากบุคคลสำคัญ


สารจากหน่วยงาน องค์กร ต่างๆ
 

องค์การสหประชาชาติ (UN)
Information
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
พุทธมณฑล
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(วัดพระแก้ว)
พระนครศรีอยุธยา เมืองมรดกโลก

ข่าวสารถึงอาสาสมัคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ตำแหน่งที่ต้องการ
Do you have what it takes to be a Vesak Day Celebration Volunteer?
ร่วมสมัครเป็นอาสาสมัคร
Once in a lifetime Opportunity
คำถาม คำตอบ
Frequently Asked Questions About Vesak Day Celebration Volunteer
นโยบายของอาสาสมัคร
Policy on volunteering
 

สัญญาณถ่ายทอดสด
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
วิดิทัศน์
ภาพวิดิทัศน์เหตุการณ์สำคัญ
เอกสารเผยแพร่งาน
รวบรวมเอกสาร ประจำปี ๒๕๕๖
รูปภาพ
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ข้อมูลรูปภาพ
สำหรับนำไปทำสิ่งพิมพ์
หนังสือ
Download หนังสือเนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
เพลง
นิทรรศการ
หลักการและเหตุผล
 


พระประวัติ
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวัฑฒนมหาเถระ เจริญ คชวัตร)
วีดีทัศน์เสนอพระประวัติ และงานฉลองพระชันษา
๒๕๕๖ ปีมหามงคล พระชันษาครบ ครบ ๑๐๐ ปี
วันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง :
พระสงฆ์กับการส่งเสริมการศึกษาและคุณค่าความเป็นมนุษย์
หนังสือและเอกสาร
๒๕๕๖ ปีมหามงคล พระชันษาครบ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖
 
สถานที่จัดงานและ
  ข้อมูลที่น่าสนใจ


  United Nations Conference Centre
Information
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
พุทธมณฑล
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
วัดพระแก้ว
พระนครศรีอยุธยา
เมืองมรดกโลก
     


พุทธมณฑล
เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา อยู่ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 2,500 ไร่ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระกึ่งพุทธกาล เมื่อ พ.ศ. 2500มีพระพุทธรูปปางลีลาประจำพุทธมณฑล เรียกว่า พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรีพระพุทธรูปนี้มีความโดดเด่นทางผ้าจีวรที่พลิ้วเหมือนจริง (พระพุทธรูปนี้สร้างเสร็จและฉลอง เมื่อ พ.ศ. 2525 คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี)

พุทธมณฑลในปัจจุบันนอกจากจะเป็นศูนย์รวมการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและจัดประเพณีกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว ยังเป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าไปพักผ่อนได้อีกด้วย



สิ่งก่อสร้าง


วิหารพุทธมณฑล เป็นอาคารชั้นเดียว สร้างแบบสถาปัตยกรรมไทยตามแบบวิหารของวัดราชาธิราช ผนังวิหารทำเป็น 2 ชั้น เพื่อให้ประตูหน้าต่าง เลื่อนเข้าภายในกำแพงได้ ภายในปูด้วยกระเบื้องหินอ่อน หลังคามุงด้วยกระเบื้องลวดลายภายนอกเป็นประติมากรรมรูปพระพุทธรูป 8 องค์ และพระโพธิสัตว์ 2 องค์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป 25 พุทธศตวรรษขนาด 2,500 มม. ดำเนินการก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2518

สังเวชนียสถาน 4 ตำบล

ตำหนักสมเด็จพระสังฆราช
เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมประยุกต์ หันหน้าไปทางทิศเหนือ ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2524
ที่พักสงฆ์อาคันตุกะ
อยู่ตรงข้ามกับตำหนักสมเด็จพระสังฆราช มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สองชั้น สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2526

หอประชุม
สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประชุมทางพระพุทธศาสนา และให้ความรู้ อาคารแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สองชั้น ชั้นล่างด้านทิศเหนือใช้เป็นสำนักงานพุทธมณฑล สร้างเสร็จ พ.ศ. 2529

หอกลอง
สร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานกลองชัยขนาดใหญ่ ตัวกลองทำด้วยไม้ขนุน และหนังควายเผือก เส้นผ่าศูนย์กลางมีขนาด 1.60 เมตร ผู้จัดทำกลองคือ พระพิชัย ธรรมจาโร วัดบัลลังก์ศิลาอาสน์ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2526

สำนักงานพุทธมณฑล
ลักษณะอาคารแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ สร้างเสร็จ พ.ศ. 2525

อาคารประชาสัมพันธ์
สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2525

ศาลาราย
สร้างตามแนวทางเท้าวงกลมรอบองค์พระประธานมีทั้งหมด 20 หลัง ด้านข้างโปร่ง

ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน
เป็นอาคารเพื่อใช้ปฏิบัติกรรมฐาน อยู่บริเวณสวนเวฬุวัน เป็นรูป 6 เหลี่ยม เชื่อมติดต่อกันทั้งหมด 8 หลัง

พิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนา
อาคารทรงไทยเป็นรูปกลมวงแหวนด้านนอก แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกแสดงโบราณวัตถุต่าง ๆ ส่วนที่ 2 จัดนิทรรศการและการบรรยาย ส่วนที่ 3 ส่วนบริการ สุขา ห้องน้ำ ฯ

หอสมุดพระพุทธศาสนามหาสิรินาถ (นามพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ)
ห้องอ่านหนังสือจุได้ 500 คน มีหนังสือประมาณ 500,000 เล่ม เก็บหนังสือบนเพดานได้อีก หนึ่งล้านเล่ม วัดปากน้ำและสมาคมศิษย์หลวงพ่อวัดปากน้ำ บริจาคเงินค่าก่อสร้างทั้งหมดประมาณ 250 ล้านบาท เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ ที่ทรงเจริญพระชนมายุ 5 รอบ

มหาวิหารประดิษฐานพระไตรปิฎกหินอ่อน
สถาปัตยกรรมไทยรูปทรงจตุรมุข มีพระเจดีย์ 9 ยอด ประดิษฐานในท่ามกลาง และเป็นที่จารึกพระไตรปิฎกหินอ่อน ขนาด 1.10 x 2.00 เมตร จำนวน 1,418 แผ่น มีภาพวาดพระพุทธประวัติอยู่ด้านบนโดยรอบ เริ่มสร้างปี พ.ศ. 2532 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2541

โรงอาหาร
เป็นแบบสถาปัตยกรรมไทย บริการด้านอาหารเมื่อมีกิจกรรมในพุทธมณฑล

หอฉัน
ลักษณะสถาปัตยกรรมไทย ใช้เป็นที่อบรมศีลธรรม จริยธรรม ของนักเรียน นักศึกษาที่มาพักแรมเข้าค่ายพุทธบุตร

ท่าเทียบเรือ
อยู่ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ ด้านหลังใช้เป็นท่าขึ้นลงเรือ ซึ่งเรือแล่นไปได้รอบพุทธมณฑล

สระน้ำขนาดใหญ่
อยู่ด้านหลังวิหาร มีขอบสระใช้ประกอบกิจกรรมทางศาสนา หรือลอยกระทง

ศาลาอำนวยการ
ใช้เป็นที่รับบริจาค ขายดอกไม้ธูปเทียน และวัตถุมงคล

ศาลาบำเพ็ญกุศล
อยู่ด้านหลังศาลาอำนวยการใกล้องค์พระ

สำนักงานย่อย
อยู่บริเวณสวนเวฬุวัน เป็นที่ทำการของเจ้าหน้าที่

ศาลาสรีรสราญ
ห้องสุขา เรือนแถว ที่พักของเจ้าหน้าที่ป้อมยาม มี 8 หลัง
     

Program: Wednesday, 22 May 2013 / 16:00 pm.
Proceed to Buddhamonthon for Candle-lit Procession Srisakyadasapalanyana Buddha Statute’s compound, Buddhamonthon, Nakhornpathom

Information and Direction of the events. Click to enlarge the image

  



Map & Location