เกี่ยวกับ UNDV
การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
คณะกรรมการวิสาขบูชา นานาชาติ
International Council of the United Nations Day of Vesak
ผู้บริหาร สมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ
International Association of Buddhist Universities
สำนักงาน
สำนักงาน สสวล. / สมพน.
โครงการ
หลักการและเหตุผล
คำประกาศปฎิญญากรุงเทพมหานคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
 

ปาฐกถา เรื่อง :
การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก: มุมมองพระพุทธศาสนา
องค์ปาฐกถาพิเศษ
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ


ผู้ร่วมเสวนา
Venerable Professor Mahinda Deegalle
Most Ven. Bhikkuni SHI RURUI
Jack Miller
Jamie Cresswell

Moderators
Venerable Assoc. Prof. Phra Sigambhirayan, Ph.D.
Venerable Phra Khammai Dhammasami
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง :
พระสงฆ์กับการส่งเสริมการศึกษาและคุณค่าความเป็นมนุษย์
ผู้ร่วมเสวนา
Venerable Ashin Nyanissara
Venerable Seck Kwang Phing
Venerable Phramaha Anilaman Dhammasakiyo, Ph.D
SUAH KIM (Bhikkhuni Soun )
Prof. Chandima Wijebandara

Moderators
Venerable Dr. Tampalawela Dhammaratana
Phra Rajavaramuni
 

สาส์นจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม


สารจาก อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ ประธานสมาคมสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.๙,Ph.D)
ศาสตราจารย์,ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์,เจ้าคณะภาค ๒
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


สารจากเลขาธิการสหประชาชาติ
บัน คิ-มูน


สารจากผู้อำนวยการทั่วไป องค์การร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ (ยูเนสโก้)
มิส ไอรีน่า โบโคว่า


สารจากประธานองคมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
สารจากนายกรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร


สารจากนายกรัฐมนตรีออสเตรีย
จูเลีย ไอลีน กิลลาร์ด


สารจากนายกรัฐมนตรีบังคลาเทศ
ชีค ฮาสินา


สารจากมหาเถรสมาคม


สารจากคณะรัฐมนตรี


สารจากสถานทูตและสถานกงสุลต่างประเทศในประเทศไทย


สารจากบุคคลสำคัญ


สารจากหน่วยงาน องค์กร ต่างๆ
 

องค์การสหประชาชาติ (UN)
Information
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
พุทธมณฑล
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(วัดพระแก้ว)
พระนครศรีอยุธยา เมืองมรดกโลก

ข่าวสารถึงอาสาสมัคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ตำแหน่งที่ต้องการ
Do you have what it takes to be a Vesak Day Celebration Volunteer?
ร่วมสมัครเป็นอาสาสมัคร
Once in a lifetime Opportunity
คำถาม คำตอบ
Frequently Asked Questions About Vesak Day Celebration Volunteer
นโยบายของอาสาสมัคร
Policy on volunteering
 

สัญญาณถ่ายทอดสด
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
วิดิทัศน์
ภาพวิดิทัศน์เหตุการณ์สำคัญ
เอกสารเผยแพร่งาน
รวบรวมเอกสาร ประจำปี ๒๕๕๖
รูปภาพ
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ข้อมูลรูปภาพ
สำหรับนำไปทำสิ่งพิมพ์
หนังสือ
Download หนังสือเนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
เพลง
นิทรรศการ
หลักการและเหตุผล
 


พระประวัติ
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวัฑฒนมหาเถระ เจริญ คชวัตร)
วีดีทัศน์เสนอพระประวัติ และงานฉลองพระชันษา
๒๕๕๖ ปีมหามงคล พระชันษาครบ ครบ ๑๐๐ ปี
วันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง :
พระสงฆ์กับการส่งเสริมการศึกษาและคุณค่าความเป็นมนุษย์
หนังสือและเอกสาร
๒๕๕๖ ปีมหามงคล พระชันษาครบ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖
 
สถานที่จัดงานและ
  ข้อมูลที่น่าสนใจ


  United Nations Conference Centre
Information
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
พุทธมณฑล
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
วัดพระแก้ว
พระนครศรีอยุธยา
เมืองมรดกโลก
     

พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาเคยเป็นราชธานี (เมืองหลวง) ของอาณาจักรอยุธยา หรืออาณาจักรสยาม ตลอดระยะเวลา 417 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 กระทั่งเสียกรุงแก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2310

ครั้นเมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ที่กรุงธนบุรี กรุงศรีอยุธยาก็ไม่ได้กลายเป็นเมืองร้าง ยังมีคนที่รักถิ่นฐานบ้านเดิมอาศัยอยู่และมีราษฎรที่หลบหนี้ไปอยู่ตามป่ากลับเข้ามาอาศัยอยู่รอบ ๆ เมือง รวมกันเข้าเป็นเมือง จนทางการยกเป็นเมืองจัตวาเรียกว่า "เมืองกรุงเก่า"

เมื่อ พ.ศ. 2325 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าขึ้นเป็น หัวเมืองจัตวา เช่นเดียวกับในสมัยกรุงธนบุรี หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้จัดการปฏิรูปการปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยการปกครองส่วนภูมิภาคนั้น โปรดให้จัดการปกครองแบบเทศาภิบาลขึ้น โดยให้รวมเมืองที่อยู่ใกล้เคียงกัน 3-4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง โดยในปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรดให้จัดตั้งมณฑลกรุงเก่าขึ้น ประกอบด้วยหัวเมืองต่าง ๆ คือ กรุงเก่าหรืออยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี

ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมเมืองอินทร์และเมืองพรหมเข้ากับเมืองสิงห์บุรี ตั้งที่ว่าการมณฑลที่อยุธยา และในปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อจาก "มณฑลกรุงเก่า" เป็น "มณฑลอยุธยา" ซึ่งจากการจัดตั้งมณฑลอยุธยามีผลให้อยุธยามีความสำคัญทางการบริหารการปกครองมากขึ้น การสร้างสิ่งสาธารณูปโภคหลายอย่างมีผลต่อการพัฒนาเมืองอยุธยาในเวลาต่อมา จนเมื่อยกเลิกการปกครองระบบมณฑลเทศาภิบาล ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึงเปลี่ยนฐานะเป็นจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน

ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายบูรณะโบราณสถานภายในเมืองอยุธยา เพื่อเป็นการฉลองยี่สิบห้าพุทธศตวรรษ ประจวบกับในปี พ.ศ. 2498 นายกรัฐมนตรีประเทศพม่าเดินทางมาเยือนประเทศไทย และได้มอบเงินจำนวน 200,000 บาท เพื่อปฏิสังขรณ์วัดและองค์พระมงคลบพิตร เป็นการเริ่มต้นบูรณะโบราณสถานในอยุธยาอย่างจริงจัง ซึ่งต่อมากรมศิลปากรเป็นหน่วยงานสำคัญในการดำเนินการ จนองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโกมีมติให้ประกาศขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็น "มรดกโลก" เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 มีพื้นที่ครอบคลุมในบริเวณโบราณสถานเมืองอยุธยา อุท

ยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา จากการสำรวจพบว่า มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ไม่ต่ำกว่า 200 แห่ง การดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวกับโบราณสถานของกรุงศรีอยุธยา ได้เริ่มต้นขึ้นครั้งแรก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาโบราณราชธานินท์ ข้าหลวงมณฑลกรุงเก่าทำการขุดแต่งพระที่นั่งบางองค์ในเขตพระราชวังหลวง ซึ่งในขณะนั้นรกมาก เนื่องจากอิฐหัก กากปูนทับถมกว่าร้อยปี

ต่อมาในสมัยของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่ง และวัดต่างๆ โดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแล

ปี พ.ศ. 2512 ได้มีโครงการชื่อ โครงการสำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถาน โดยมีความพยายามที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ในอันที่จะอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้ ในที่สุด พ.ศ. 2519 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของงานชิ้นใหม่ แล้วจัดทำโครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้น และเริ่มทำการบูรณะปรับปรุงโบราณสถานเป็นต้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520
   
Ayutthaya Map

click image to enlarge